ก่อนสร้างบ้านใหม่ ข้อพิจารณา
ถ้ามีโอกาสได้สร้างบ้านสักหลัง บ้านที่ออกแบบมาได้ตรงใจ เหมาะกับไลฟ์สไตล์เราที่สุด และมีโครงสร้างการออกแบบที่ค่อนข้างสมบูรณ์แบบ อยู่แล้วสะดวกสบาย ไม่มีปัญหาหนักใจใด ๆ ในภายหลัง หากคุณกำลังเตรียมตัวสร้างบ้านกันอยู่ล่ะก็ ก่อนสร้างบ้านใหม่ ข้อพิจารณาต่างๆ
- ถ้ามีเวลา ถมที่ไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ปี
- หาข้อมูลและรูปภาพอ้างอิงสไตล์ที่คุณชอบ
- หาสถาปนิก ทัณฑนากร นักออกแบบที่มีผลงานตรงกับสไตล์ที่คุณชอบ
- คิดถึงอนาคต ห้องเด็ก ห้องผู้สูงอายุ พื้นที่สำหรับสัตว์เลี้ยง ผังเฟอร์นิเจอร์
- คำนวนพื้นที่ใช้งานจริง รวมถึงพื้นที่มักจะละเลย เช่น พื้นที่ชักล้าง ที่จอดรถ ห้องเก็บของ
- ทำช็อปปิ้งลิสต์ ทั้งวัสดุ อุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ และอื่นๆ ไว้แต่เนิ่นๆ
- ศึกษาระบบรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
- ทำตามกฏหมายอาคารและกฏหมายที่ดินที่กำหนดไว้
- การตามใจคนอื่น บ้านของคุณ เงินของคุณ อย่าปล่อยให้พวกเขามามีอิทธิพลมากเกินไป ฟังความคิดเห็น และนำมาปรับใช้ดีกว่า
- ฮวงจุ้ย หรือศาสตร์ประเภทอื่นที่คุณสนใจ ศึกษาร่วมกับสถาปนิกล่วงหน้า
- วางไทม์ไลน์ยืดหยุ่น ควรเผื่อเวลาเอาไว้ด้วย
- อย่าประหยัดใรเรื่องที่ไม่ควร เช่น ค่าวิชาชีพ ค่าวัสดุอุปกรณ์ทั้งหลาย เลือกให้เหมาะระหว่างคุณภาพกับราคาด้วย
- อย่าสร้างบ้าน ถ้ารู้ว่าบริเวณโดยรอบที่ดินของเรากำลังก่อสร้างโรงงาน ปั้มน้ำมัน คอนโดมิเนียม หรือสิ่งก่อสร้างใดๆ ที่จะทำให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ย่ำแย่
- อย่ากำหนดงบประมาณแบบไม่ยืดหยุ่น เผื่อฉุกเฉินคุณจะได้ไม่ช็อร์ต
- อย่าให้บ้านทึบเกินไป ออกแบบให้บ้านมีหน้าต่าง หรือติดกระจกที่กำแพงบ้าน ให้แสงส่องเข้ามาได้ จะช่วยให้เราประหยัดไฟ หากบ้านมีกระจกหรือหน้าต่างเยอะ ก็จะได้ถือโอกาสเปิดรับลมให้บ้านในช่วงกลางวัน ให้บ้านได้ระบายอากาศ และความอับชื้นได้อีกทาง แต่ต้องไม่ลืมดูทิศทางของลมและแสงแดดให้ดีด้วย
- จัดวางระบบน้ำไม่ถูกต้อง ระบบน้ำหลัก ๆ ของบ้านอย่างก็อกน้ำต่าง ๆ คงไม่มีปัญหา แต่สิ่งที่ต้องระวังเพราะมักจะพลาดกันเป็นส่วนใหญ่ก็คือการจัดวางตำแหน่งเครื่องซักผ้า และท่อน้ำทิ้ง ซึ่งถ้าวางระบบไม่ดีก็อาจจะเกิดปัญหาท่ออุดตัน น้ำล้น หรือน้ำท่วมบ้านในภายหลัง
- เลือกตำแหน่งห้องนอนไม่เหมาะสม ห้องนอนควรจะต้องอยู่ในจุดที่ห่างไกลจากเสียงรบกวน ไม่อยู่ใกล้โรงจอดรถ และไม่มีผนังติดกันกับห้องนั่งเล่นในกรณีที่มีสมาชิกอยู่กันหลายคน หรือถ้าบ้านเป็นแบบบ้าน 2 ชั้น ก็เลือกห้องนอนให้อยู่ชั้นบน แต่ถ้าเป็นแบบบ้านชั้นเดียวควรเลือกตำแหน่งห้องนอนให้อยู่ลึกสุด เพื่อกันไม่ให้มีเสียงดังเล็ดลอดเข้ามารบกวนในขณะที่นอนหลับได้ แต่อย่าลืมว่าต้องไม่อยู่ติดกับห้องครัว
- ถ้ามีเวลา ถมที่ไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ปี
- หาข้อมูลและรูปภาพอ้างอิงสไตล์ที่คุณชอบ
- หาสถาปนิก ทัณฑนากร นักออกแบบที่มีผลงานตรงกับสไตล์ที่คุณชอบ
- คิดถึงอนาคต ห้องเด็ก ห้องผู้สูงอายุ พื้นที่สำหรับสัตว์เลี้ยง ผังเฟอร์นิเจอร์
- คำนวนพื้นที่ใช้งานจริง รวมถึงพื้นที่มักจะละเลย เช่น พื้นที่ชักล้าง ที่จอดรถ ห้องเก็บของ
- ทำช็อปปิ้งลิสต์ ทั้งวัสดุ อุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ และอื่นๆ ไว้แต่เนิ่นๆ
- ศึกษาระบบรักษาความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
- ทำตามกฏหมายอาคารและกฏหมายที่ดินที่กำหนดไว้
- การตามใจคนอื่น บ้านของคุณ เงินของคุณ อย่าปล่อยให้พวกเขามามีอิทธิพลมากเกินไป ฟังความคิดเห็น และนำมาปรับใช้ดีกว่า
- ฮวงจุ้ย หรือศาสตร์ประเภทอื่นที่คุณสนใจ ศึกษาร่วมกับสถาปนิกล่วงหน้า
- วางไทม์ไลน์ยืดหยุ่น ควรเผื่อเวลาเอาไว้ด้วย
- อย่าประหยัดใรเรื่องที่ไม่ควร เช่น ค่าวิชาชีพ ค่าวัสดุอุปกรณ์ทั้งหลาย เลือกให้เหมาะระหว่างคุณภาพกับราคาด้วย
- อย่าสร้างบ้าน ถ้ารู้ว่าบริเวณโดยรอบที่ดินของเรากำลังก่อสร้างโรงงาน ปั้มน้ำมัน คอนโดมิเนียม หรือสิ่งก่อสร้างใดๆ ที่จะทำให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ย่ำแย่
- อย่ากำหนดงบประมาณแบบไม่ยืดหยุ่น เผื่อฉุกเฉินคุณจะได้ไม่ช็อร์ต
- อย่าให้บ้านทึบเกินไป ออกแบบให้บ้านมีหน้าต่าง หรือติดกระจกที่กำแพงบ้าน ให้แสงส่องเข้ามาได้ จะช่วยให้เราประหยัดไฟ หากบ้านมีกระจกหรือหน้าต่างเยอะ ก็จะได้ถือโอกาสเปิดรับลมให้บ้านในช่วงกลางวัน ให้บ้านได้ระบายอากาศ และความอับชื้นได้อีกทาง แต่ต้องไม่ลืมดูทิศทางของลมและแสงแดดให้ดีด้วย
- จัดวางระบบน้ำไม่ถูกต้อง ระบบน้ำหลัก ๆ ของบ้านอย่างก็อกน้ำต่าง ๆ คงไม่มีปัญหา แต่สิ่งที่ต้องระวังเพราะมักจะพลาดกันเป็นส่วนใหญ่ก็คือการจัดวางตำแหน่งเครื่องซักผ้า และท่อน้ำทิ้ง ซึ่งถ้าวางระบบไม่ดีก็อาจจะเกิดปัญหาท่ออุดตัน น้ำล้น หรือน้ำท่วมบ้านในภายหลัง
- เลือกตำแหน่งห้องนอนไม่เหมาะสม ห้องนอนควรจะต้องอยู่ในจุดที่ห่างไกลจากเสียงรบกวน ไม่อยู่ใกล้โรงจอดรถ และไม่มีผนังติดกันกับห้องนั่งเล่นในกรณีที่มีสมาชิกอยู่กันหลายคน หรือถ้าบ้านเป็นแบบบ้าน 2 ชั้น ก็เลือกห้องนอนให้อยู่ชั้นบน แต่ถ้าเป็นแบบบ้านชั้นเดียวควรเลือกตำแหน่งห้องนอนให้อยู่ลึกสุด เพื่อกันไม่ให้มีเสียงดังเล็ดลอดเข้ามารบกวนในขณะที่นอนหลับได้ แต่อย่าลืมว่าต้องไม่อยู่ติดกับห้องครัว
0 ความคิดเห็น :